ชิปปิ้ง เจาะลึก 3 ประเด็นการค้าข้ามพรมแดน ที่ต้องจับตา
เทคโนโลยีที่ทันสมัย ก่อให้เกิดแนวทางใหม่ๆ ซึ่งสามารถนำมาปรับใช้กับธุรกิจให้เติบโตอย่างแข็งแกร่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการค้าขาย และต้องทำธุรกรรมการเงินระหว่างประเทศ
เทคโนโลยีที่ทันสมัย ก่อให้เกิดแนวทางใหม่ๆ ซึ่งสามารถนำมาปรับใช้กับธุรกิจให้เติบโตอย่างแข็งแกร่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการค้าขาย และต้องทำธุรกรรมการเงินระหว่างประเทศ
ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบโดยตรงจากสถานการณ์ Covid-19 และทำให้เกิดแรงกดดันอย่างมากต่อห่วงโซ่อุปทานทั่วโลก โดยเฉพาะในช่วงเดือนมีนาคมที่ผ่านมา เกือบ 95% ของบริษัท มีการหยุดชะงักเกิดขึ้นในห่วงโซ่อุปทาน โรงงานผลิต และการขนส่ง โดยมีระยะเวลารอคอยสำหรับปัจจัยการผลิตทั่วเอเชีย ยุโรป และอเมริกาเหนือ เติบโตอย่างน้อย 2 เท่า
ไม่ว่าจะกี่ยุคกี่สมัย ผู้ประกอบการร้านค้า มักจะคุ้นเคยกับแนวคิดที่ว่า การผลิตในประเทศจีนนั้น มีมีต้นทุนที่ต่ำกว่าในสหรัฐอเมริกาหรืออีกหลายๆ ประเทศทั่วโลก ซึ่งความเชื่อดังกล่าวก็กลายเป็นที่นิยมกันเรื่อยมา โดยเฉพาะในหมู่ผู้ขายสินค้า ที่สั่งผลิตสินค้าในชื่อแบรนด์ของตัวเองหรือ Private Label
ในการนำเข้าและส่งออกสินค้าระหว่างประเทศ ตามกฎหมายนั้นได้ระบุไว้ว่า ต้องเสียภาษีอากรตามกฎหมาย ซึ่งสินค้าแต่ละประเภท มีค่าภาษีของการนำเข้าและส่งออกที่แตกต่างกัน ซึ่งวิธีการตรวจสอบภาษีของสินค้าแต่ละชนิดนั้น จำเป็นต้องเช็คจาก ‘พิกัดศุลกากร’ หรือ HS Code (Harmonized System)
โดยปกติแล้วเมื่อผู้นำเข้าสินค้าได้นำสินเข้ามาในราชอาณาจักร และได้ยื่นข้อมูลใบขนสินค้าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรแล้ว ผู้นำของเข้าจะต้องดำเนินการชำระค่าภาษีอากร และค่าธรรมเนียมศุลกากรให้แล้วเสร็จ ก่อนที่จะดำเนินการรับการตรวจปล่อยของออกจากอารักขาศุลกากร ในกรณีที่ผู้นำเข้าสินค้าด้วยตนเอง ไม่ผ่านตัวแทนขนส่งหรือ Freight Forwarder อาจมีคำถามที่พบได้บ่อยๆ เช่น การชำระค่าภาษีอากร และค่าธรรมเนียมศุลกากร สามารถชำระได้ที่ช่องทางใดบ้าง ?
ว่ากันว่า รถบรรทุกที่ใช้สำหรับบรรทุกสินค้า ปรากฏตัวครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1900 ซึ่งในขณะนั้นเป็นเพียงรถยนต์ดัดแปลงที่ใช้แทนรถม้าลาก เพื่อนำมาใช้ในการขนส่งสินค้าแค่ในพื้นที่ท้องถิ่นของสหรัฐอเมริกา เนื่องจากข้อจำกัดของการใช้รถยนต์ขนส่งอยู่ตรงที่ จุสินค้าได้ในปริมาณน้อยและขนส่งได้เพียงระยะทางสั้นๆ
เพื่อให้การซื้อขายระหว่างประเทศ เป็นไปอย่างเรียบร้อยตามกติกา ICC หรือสภาหอการค้านานาชาติ จึงได้ออกกฎระเบียบเพื่อใช้เป็นข้อบังคับระหว่างผู้ซื้อและผู้ขาย หรือที่เรียกว่า Incoterms ขึ้นมา ฉบับล่าสุดคือ Incoterms 2020 เป็นฉบับที่มีการแก้ไขปรับปรุงใหม่จากปี 2010 และเริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2020 เป็นต้นมา
ในการดำเนินพิธีการนำเข้าสินค้าจากจีนนั้น ผู้นำเข้ามีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายศุลกากรหรือกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะการนำเข้าสินค้าจากจีนด้วยตนเอง ซึ่งอาจมีความเสี่ยงสำหรับผู้ที่ยังไม่มีประสบการณ์ในการนำเข้า
ว่ากันว่า Freight Forwarder เริ่มต้นขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1800 หรือประมาณ 220 ปีมาแล้ว Freight Forwarder รายแรกๆ ของโลกเกิดขึ้นจากผู้มีหน้าที่ดูแลโรงแรม ได้ทำการส่งต่อสินค้าให้กับแขกของโรงแรม จนทำให้เกิดเป็นบริการส่งต่อสินค้าในเวลาต่อมา
ปัจจุบัน Form E ใหม่ มีการยกเลิกอัตราภาษีนำเข้าสินค้าภายใต้เงื่อนไขของ ACFTA ทำให้ร้อยละ 90 หรือราว 8,000 กว่ารายการสินค้าได้รับการลดหย่อนภาษีนำเข้าจากจีน 0%